แนะนำบทความ 3 สาเหตุสำคัญ ของภาวะมีบุตรยากในผู้หญิง ภาวะมีบุตรยากในฝ่ายหญิง สาเหตุที่พบได้บ่อยที่สุดก็คือภาวะไข่ไม่ตก รองลงมาคือ ท่อนำไข่อุดตัน และการมีพังผืดในอุ้งเชิงกราน อ่านเพิ่มเติม
แนะนำบทความ 7 ขั้นตอนการทำเด็กหลอดแก้วเพื่อการตั้งครรภ์ การทำเด็กหลอดแก้วด้วยการทำผสมเทียมแบบ IVF และแบบอิ๊กซี่ (ICSI) มีวิธีทำที่สำคัญๆ ถึง 7 ขั้นตอน ซึ่งทั้งหมดจะช่วยให้ผู้มีภาวะมีบุตรยากตั้งครรภ์ได้ง่ายขึ้น อ่านเพิ่มเติม
แนะนำบทความ การฉีดน้ำเชื้อเข้าโพรงมดลูก เพื่อรักษาภาวะมีบุตรยาก การฉีดน้ำเชื้อเข้าโพรงมดลูก มีโอกาสการตั้งครรภ์อยู่ที่ประมาณ 10-25% ต่อการฉีดหนึ่งรอบของการตกไข่ และมักจะตั้งครรภ์ในการฉีดเฉพาะ 3 ครั้งแรกเท่านั้น อ่านเพิ่มเติม
โรคหัวใจ ภัยแฝงผู้เป็นเบาหวาน โรคหลอดเลือดหัวใจตีบ ภาวะแทรกซ้อนที่พบได้บ่อยในผู้ป่วยเ […] อ่านเพิ่มเติม
“เวชศาสตร์ชะลอวัย” (Anti – Aging and Regenerative Medicine) “เวชศาสตร์ชะลอวัย” (Anti – Aging and Regene […] อ่านเพิ่มเติม
ไตวายเรื้อรัง ดีได้ด้วยการฟอกเลือด มีวิธีการรักษาที่สามารถทำให้คนไข้ใช้ชีวิตเหมือนคนปกติได […] อ่านเพิ่มเติม
ทำอย่างไรเมื่อรู้ตัวว่าเป็นริดสีดวงทวาร? กลไกการเกิดริดสีดวงทวารหนัก ทวารหนักเป็นส่วนติดต่อมาจาก […] อ่านเพิ่มเติม
รากเทียมทางเลือกใหม่ของการใส่ฟัน รากเทียมเป็นวิธีหนึ่งที่ใช้ทดแทนฟันที่สูญเสียไป โดยให้ค […] อ่านเพิ่มเติม
ผ่าตัดกระเพาะอาหารเพื่อลดน้ำหนัก ด้วยการส่องกล้อง ปัญหาน้ำหนักตัวเกินในผู้ที่อ้วนมากๆ เมื่อใช้การลดน้ำหนั […] อ่านเพิ่มเติม
เตรียมความพร้อมก่อนศัลยกรรม…ต้องทำอะไรบ้างนะ ใกล้ถึงวันนัดคุณหมอทำศัลยกรรมแล้ว แต่ยังไม่รู้เลยว่าต้องเตรียมตัวยังไง? เพราะนอกจากใจที่พร้อมจะเจอมีดหมอแล้ว เราก็จำเป็นต้องเตรียมร่างกายให้พร้อมอีกด้วย เพื่อลดความเสี่ยงและป้องกันปัญหาต่างๆ ที่อาจเกิดขึ้น อ่านเพิ่มเติม
4 วิธี ลดอาการบวมช้ำหลังศัลยกรรมให้เข้าที่เร็วขึ้น! หลังการผ่าตัดศัลยกรรมย่อมเกิดแผลตามมาเป็นเรื่องปกติ โดยเฉพาะอาการบวมช้ำยิ่งพบเจอได้ทั่วไปสำหรับการศัลยกรรม หลายคนซีเรียสมากกับเรื่องนี้เพราะกลัวจะหายช้า กลัวจะช้ำหลายวัน จนบางครั้งเครียดกว่าการผ่าตัดซะอีก อ่านเพิ่มเติม
ต้อหิน (Glaucoma) อาการ สาเหตุ และการรักษา ต้อหิน เป็นโรคที่ผู้ป่วยส่วนใหญ่มักไม่รู้ตัว เพราะการสูญเสียการมองเห็นจะเสียจากบริเวณรอบนอกลานสายตาก่อน อ่านเพิ่มเติม
ประจำเดือนมาไม่ปกติ หนึ่งในสาเหตุมีบุตรยาก ผู้ที่มีประจำเดือนไม่ปกติอาจเกิดจากการมีฮอร์โมนไม่สมดุล จึงส่งผลต่อการตกไข่ทำให้เกิดภาวะมีบุตรยาก การตรวจเพื่อหาสาเหตุที่แท้จริงของการมีประจำเดือนผิดปกติจะทำให้ได้รับการรักษา และเพิ่มโอกาสการมีบุตรได้ง่ายขึ้น อ่านเพิ่มเติม
แช่แข็งไข่ไว้ผสมในวันที่พร้อมมีบุตร เพื่อการตั้งครรภ์อย่างมีคุณภาพ การแช่แข็งไข่เป็นทางเลือกหนึ่งที่จะช่วยเก็บรักษาไข่ที่สมบูรณ์เอาไว้ เพราะเมื่อผู้หญิงอายุมากขึ้นโอกาสของการตั้งครรภ์จะลดลง โอกาสแท้งและโอกาสตั้งครรภ์ที่มีโครโมโซมผิดปกติจะเพิ่มสูงขึ้น อ่านเพิ่มเติม
เช็กลิสต์ 10 พฤติกรรมและปัจจัยเสี่ยงมีบุตรยาก หากคุณไม่อยากเป็นผู้ที่มีปัญหามีบุตรยากหรือตั้งครรภ์ยาก คงจะต้องเริ่มปรับพฤติกรรมที่ทำบ่อยๆ รวมถึงพยายามลดความเสี่ยงต่างๆ ตั้งแต่วันนี้ อ่านเพิ่มเติม
อยากมีลูก…นับวันไข่ตกอย่างไร ให้มีโอกาสตั้งครรภ์? หากคุณเป็นคนหนึ่งที่กำลังอยากมีลูก แต่ทำยังไงก็ยังไม่ตั้งครรภ์สักที จริงๆ แล้ว เรื่องแบบนี้บางครั้งต้องอาศัยจังหวะและเวลาที่เหมาะสม โดยเฉพาะเรื่องของการ “ตกไข่” ในช่วงวันที่ควรมีเพศสัมพันธ์ เมื่อจังหวะเหมาะสมก็ท้องได้ไม่ยาก การนับวันไข่ตกไข่ให้เป็นจึงเป็นเรื่องสำคัญ! อ่านเพิ่มเติม
การเก็บอสุจิจากลูกอัณฑะเพื่อทำอิ๊กซี่ การเก็บอสุจิจากลูกอัณฑะมีอยู่ 3 วิธีคือ 1.พีซ่า (PESA) เป็นการดูดเอาตัวอสุจิออกมา 2.ทีซ่า (TESA) เป็นการใช้เข็มดูดเนื้อลูกอัณฑะออกมา และ 3.เทเซ่ (TESE) เป็นการใช้ใบมีดขนาดเล็กเปิดนำชิ้นเนื้ออัณฑะออกมาเล็กน้อย อ่านเพิ่มเติม
การฉีดน้ำเชื้อเข้าโพรงมดลูก เพื่อรักษาภาวะมีบุตรยาก การฉีดน้ำเชื้อเข้าโพรงมดลูก มีโอกาสการตั้งครรภ์อยู่ที่ประมาณ 10-25% ต่อการฉีดหนึ่งรอบของการตกไข่ และมักจะตั้งครรภ์ในการฉีดเฉพาะ 3 ครั้งแรกเท่านั้น อ่านเพิ่มเติม
7 ขั้นตอนการทำเด็กหลอดแก้วเพื่อการตั้งครรภ์ การทำเด็กหลอดแก้วด้วยการทำผสมเทียมแบบ IVF และแบบอิ๊กซี่ (ICSI) มีวิธีทำที่สำคัญๆ ถึง 7 ขั้นตอน ซึ่งทั้งหมดจะช่วยให้ผู้มีภาวะมีบุตรยากตั้งครรภ์ได้ง่ายขึ้น อ่านเพิ่มเติม
ภาวะไข่ไม่ตกเรื้อรัง หนึ่งในสาเหตุการมีบุตรยากที่รักษาได้ ภาวะไข่ไม่ตกเรื้อรัง เป็นความผิดปกติในการทำงานของรังไข่ ที่ทำให้กระบวนการการโตของไข่หยุดชะงัก ทำให้เกิดปัญหาประจำเดือนมาไม่ตรงตามกำหนด ซึ่งเป็นหนึ่งในสาเหตุการมีบุตรยาก อ่านเพิ่มเติม
3 สาเหตุสำคัญ ของภาวะมีบุตรยากในผู้หญิง ภาวะมีบุตรยากในฝ่ายหญิง สาเหตุที่พบได้บ่อยที่สุดก็คือภาวะไข่ไม่ตก รองลงมาคือ ท่อนำไข่อุดตัน และการมีพังผืดในอุ้งเชิงกราน อ่านเพิ่มเติม
ลดโอกาสเกิดภาวะท้องลมได้ด้วยการทำเด็กหลอดแก้ว ภาวะท้องลมเป็นการตั้งครรภ์ที่ผิดปกติชนิดหนึ่งซึ่งเกิดจากไข่กับอสุจิผสมกันเป็นตัวอ่อนแล้ว มีการฝังตัวในระยะะแรกแล้ว แต่ส่วนของตัวเด็กฝ่อหายไปก่อน จึงเหลือเพียงแค่ถุงการตั้งครรภ์ อ่านเพิ่มเติม
การตรวจโครโมโซมและวินิจฉัยความผิดปกติทางพันธุกรรมของตัวอ่อน การตรวจโครโมโซมแบบ อะเลย์ ซีจีเอช เป็นวิธีใหม่ที่ให้ผลการตรวจคัดกรองที่ละเอียดมากขึ้น เพราะตรวจได้ทุกโครโมโซม รวมถึงโครโมโซมเพศด้วย จึงทำให้การเลือกตัวอ่อนที่ปกติในแง่ของจำนวนโครโมโซมที่ไม่ขาดไม่เกินนั้นมีความถูกต้องมากขึ้น อ่านเพิ่มเติม
ไซนัสอักเสบ โรคนี้จะเรื้อรัง ถ้าไม่รักษาให้ตรงจุด ใครก็ตามที่มีอาการจามจนแสบจมูก ปวดกระบอกตา หรือถ้ายิ่งลามไปถึงมีอาการปวดหูนั้น ควรตั้งข้อสงสัยไว้อย่างหนึ่งว่า โรค "ไซนัสอักเสบ"อาจมาเยือนท่านแล้ว อ่านเพิ่มเติม
อาการแบบไหน เข้าข่ายภูมิแพ้ แล้วแพ้อะไร? โรคภูมิแพ้หรืออาการแพ้ เกิดจากร่างกายได้รับสารกระตุ้นภูมิแพ้และสร้างภูมิต้านทานโดยหลั่งสารฮีสตามีนออกมา จึงทำให้เกิดอาการ เช่น หายใจไม่ออก แน่นหน้าอก เนื้อเยื่อบวม ผื่น คัน ลมพิษ อ่านเพิ่มเติม
หดหู่ หงุดหงิดง่าย หลับไม่สนิท สัญญาณ “โรคซึมเศร้า” ที่ต้องรีบรักษา! ปัจจุบันการรักษาโรคซึมเศร้าให้ผลที่ดีมาก ซึ่งการรักษา จะทำโดยการใช้ยาต้านอารมณ์เศร้า (Antidepressants) ที่มีหลายชนิดตามความเหมาะสม เพราะผู้ป่วยแต่ละรายมักตอบสนองต่อยาแต่ละชนิดแตกต่างกัน อ่านเพิ่มเติม
ภาวะรกเกาะต่ำ ลดอันตรายได้เมื่อรีบฝากครรภ์ โดยทั่วไป หากมีภาวะรกเกาะต่ำ มักจะเกิดอาการเลือดออกหลังจากตั้งครรภ์นาน 6 เดือนกว่าขึ้นไป แต่สำหรับบางคนที่ฝากครรภ์ตั้งแต่เนิ่นๆ แพทย์สามารถตรวจพบภาวะรกเกาะต่ำได้ตั้งแต่ระยะ 3 เดือนแรก อ่านเพิ่มเติม
มะเร็งรังไข่ กับการตรวจคัดกรอง รักษาและผ่าตัด มะเร็งรังไข่เป็นมะเร็งที่พบมากเป็นอันดับ 3 รองจากมะเร็งเต้านมและมะเร็งปากมดลูก แต่หากตรวจพบมะเร็งรังไข่ตั้งแต่ระยะที่ 1 จะมีอัตราการรักษาหายสูงถึงร้อยละ 90 อ่านเพิ่มเติม
ช็อกโกแลตซีสต์ (Chocolate Cyst) หรือถุงน้ำในอุ้งเชิงกราน โรคช็อกโกแลตซีสต์ (Chocolate Cyst) หรือเยื่อบุโพรงมดลูกเจริญผิดที่ คือถุงน้ำของรังไข่ชนิดหนึ่ง ซึ่งภายในจะมีของเหลวที่คล้ายกับช็อกโกแลตเหลว อ่านเพิ่มเติม
มะเร็งปากมดลูก ตรวจพบเร็วก่อนลุกลาม รักษาหายได้ แม้ว่ามะเร็งปากมดลูก เป็นสาเหตุของการเสียชีวิตอันดับต้นๆ ของมะเร็งในสตรีไทย แต่การป้องกันไม่ให้เป็นมะเร็งปากมดลูกนั้นทำได้ง่ายๆ ด้วยการตรวจคัดกรอง และการฉีดวัคซีนป้องกัน อ่านเพิ่มเติม
ครรภ์เป็นพิษส่งผลอย่างไร อาการแบบไหนที่ต้องระวัง? ครรภ์เป็นพิษเกิดขึ้นได้ทั้งระหว่างการตั้งครรภ์หรือแม้แต่หลังคลอดแล้ว ภาวะนี้พบได้ราวร้อยละ 5-8 ของการตั้งครรภ์ หากเกิดครรภ์เป็นพิษ คุณแม่ตั้งครรภ์จะมีความดันโลหิตสูง ตรวจพบโปรตีนในปัสสาวะ อ่านเพิ่มเติม
ฉีดสี สวนหัวใจ (CAG) หนึ่งในวิธีตรวจรักษาโรคหลอดเลือดหัวใจตีบ การฉีดสีสวนหัวใจ คือการใช้สายร้อยผ่านขาหนีบ ข้อพับแขนหรือข้อมือ ขึ้นไปจนถึงหลอดเลือดหัวใจ และใช้สารทึบรังสีฉีดเข้าไป จากนั้นจะทำการเอกซเรย์และบันทึกภาพหลอดเลือดหัวใจเพื่อดูลักษณะการตีบตัน อ่านเพิ่มเติม
หัวใจโต รักษาที่สาเหตุ ควบคุมที่อาการ หัวใจโตแบ่งได้เป็น 2 ชนิดใหญ่ๆ คือ โตจากกล้ามเนื้อที่หนาตัวจากการที่หัวใจทำงานหนักหรือบีบตัวมากในผู้ที่มีความดันโลหิตสูงหรือลิ้นหัวใจตีบ กับเกิดจากกล้ามเนื้อหัวใจบีบตัวไม่ดี ทำให้มีเลือดคั่งค้างในห้องหัวใจมาก อ่านเพิ่มเติม
โรคหัวใจขาดเลือดเฉียบพลัน โรคหัวใจขาดเลือดเฉียบพลัน เกิดจากหลอดเลือดแดงที่ไปเลี้ยงหัวใจมีภาวะตีบหรือตัน ซึ่งทำให้กล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือดจนหัวใจวาย ผู้ป่วยจะมีอาการเจ็บแน่นหน้าอกเหมือนมีอะไรมาทับกลางอก อ่านเพิ่มเติม
หัวใจล้มเหลว จากลิ้นหัวใจรั่ว ลิ้นหัวใจรั่วโดยส่วนใหญ่มักไม่แสดงอาการ เพราะอาการจะปรากฏเมื่อหัวใจไม่สามารถทนรับกับปริมาณเลือดที่เพิ่มขึ้นได้อีกต่อไป ซึ่งอาการจะเกิดอย่างฉับพลันทำให้เกิดภาวะหัวใจล้มเหลว อ่านเพิ่มเติม
การตรวจหัวใจด้วยคลื่นเสียงสะท้อนความถี่สูง (Echocardiography) การตรวจอัลตราซาวด์หัวใจ ใช้ตรวจหาความผิดปกติของการเคลื่อนไหวของผนังหัวใจ ปริมาณเลือดที่สูบฉีดในการบีบตัวของหัวใจ เห็นรอยโรคต่างๆ เช่น โรคหัวใจแต่กำเนิด โรคลิ้นหัวใจพิการ โรคกล้ามเนื้อหัวใจ และโรคหลอดเลือดหัวใจ อ่านเพิ่มเติม
การตรวจคลื่นไฟฟ้าหัวใจ (Electrocardiogram : EKG หรือ ECG) การตรวจคลื่นไฟฟ้าหัวใจ Electrocardiogram หรือ EKG เป็นวิธีการตรวจหาโรคที่เกี่ยวข้องกับหัวใจที่ง่ายและได้ผลดี สามารถบอกความผิดปกติของหัวใจได้ในเบื้องต้นหลายอย่าง อันนำไปสู่การตรวจเพิ่มเติมที่เฉพาะเจาะจงได้ดียิ่งขึ้น อ่านเพิ่มเติม
หมอนรองกระดูกสันหลังเคลื่อนทับเส้นประสาท ปวดไม่หายถ้าไม่รักษา คนที่เป็นโรคหมอนรองกระดูกสันหลังเคลื่อนทับเส้นประสาท มักจะมีอาการปวดหลังบริเวณบั้นเอวหรือกระเบนเหน็บ ร่วมกับอาการปวดร้าวลงขา คือจากแก้มก้นลงไปที่น่องหรือปลายเท้าด้านข้างหรือด้านนิ้วก้อย อ่านเพิ่มเติม
ปวดหลัง…รักษาหายได้โดยไม่ต้องผ่าตัด Spine Intervention อาการปวดหลัง ส่วนใหญ่เกิดจากการที่กระดูกสันหลังอยู่ในท่าที่ไม่เหมาะสมเป็นระยะเวลานานๆ เช่น การนั่งทำงาน หรืออยู่หน้าจอคอมพิวเตอร์ที่จัดวางไม่เหมาะสมกับสัดส่วนสรีระของผู้ใช้งานเป็นประจำ อ่านเพิ่มเติม
โรคข้อเสื่อมคืออะไร อาการแบบไหนที่ควรรีบพบแพทย์ ข้อเสื่อม คือภาวะที่มีการสึกกร่อนของกระดูกอ่อนส่วนปลายจุดเชื่อมกระดูก 2 ท่อน ซึ่งคือส่วนผิวข้อกระดูกที่มีหน้าที่ช่วยลดแรงกระทำต่างๆ ต่อข้อ มีหน้าที่ทำให้ข้อเคลื่อนไหวได้ดี อ่านเพิ่มเติม
โรคกระดูกพรุน สาเหตุกระดูกแตกหักง่ายที่ต้องระวัง กระดูกพรุน เป็นภาวะที่เนื้อกระดูกลดลงและโครงสร้างภายในเนื้อกระดูกเปลี่ยนแปลง ทำให้กระดูกเปราะบางและแตกหักง่ายแม้แต่การประสบอุบัติเหตุที่ไม่รุนแรง อ่านเพิ่มเติม
รู้ทันโรคหลอดเลือดสมอง ลดความเสี่ยงอัมพฤกษ์ อัมพาต โรคหลอดเลือดสมอง เป็นภาวะที่สมองขาดเลือดไปเลี้ยง ทำให้เกิดอาการชาที่ใบหน้า ปากเบี้ยว พูดไม่ชัด แขนขาข้างใดข้างหนึ่งอ่อนแรง เคลื่อนไหวไม่ได้หรือเคลื่อนไหวลำบากอย่างทันทีทันใดเป็นนาทีหรือเป็นชั่วโมง อ่านเพิ่มเติม
อัลไซเมอร์ โรคสมองเสื่อมที่ไม่ใช่แค่อาการหลงลืม โรคสมองเสื่อมอัลไซเมอร์ เป็นโรคที่เกิดจากความเสื่อมของสมอง โดยมีผลกระทบต่อความจำและทักษะในการใช้ความคิดเป็นหลัก อาการจะเกิดขึ้นช้าๆ จนนำไปสู่ความบกพร่องในการทำกิจวัตรประจำวัน เช่น การใส่เสื้อผ้า หรือบิดลูกบิดประตูไม่ได้ อ่านเพิ่มเติม
โรคหลอดเลือดสมอง อัมพฤกษ์ อัมพาต ต้องป้องกันที่สาเหตุ โรคหลอดเลือดสมอง เป็นโรคที่เกิดจากหลอดเลือดที่ไปเลี้ยงสมองเกิดความผิดปกติ ซึ่งมี 2 ชนิด คือ หลอดเลือดสมองอุดตัน กับหลอดเลือดสมองแตก ทำให้สมองเสียหายหรือตาย และหยุดการทำงานไปอย่างเฉียบพลัน อ่านเพิ่มเติม
โรคไมเกรน ปวดหัวหนักทำคุณภาพชีวิตพัง (Migraine) การวินิจฉัยโรคไมเกรน มักอาศัยเพียงประวัติอาการปวดศีรษะที่เข้าได้กับลักษณะของไมเกรน และการตรวจร่างกายทางระบบประสาทที่ไม่พบความผิดปกติที่เป็นสาเหตุของอาการปวดศีรษะ อ่านเพิ่มเติม